นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ได้รับรางวัลในโครงการแข่งขันพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยการเชื่อมโยงข้อมูล ผ่าน PSU Open API (PSU Open API Contest 2024) ที่จัดโดย สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน 2567
การแข่งขันแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ นักศึกษา และบุคลากร
รางวัลประเภทนักศึกษา มอบรางวัลโดย รศ.ดร.สินชัย กมลภิวงศ์ ผู้อำนวยการ สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ
รางวัลชนะเลิศ
เงินรางวัล 10,000 บาท พร้อมโล่รางวัล
| ทีม HY TEAM คณะวิศวกรรมศาสตร์
| ผลงาน: PSU GUIDE
• นายวิทยา มลิวัลย์ รหัสนักศึกษา 6410110483
• นายกฤตนัย โกยพิพัฒน์กุล รหัสนักศึกษา 6410110009
• นายสหชาติ ชูเขียว รหัสนักศึกษา 6410110522
นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
รองชนะเลิศอันดับที่ 1
เงินรางวัล 5,000 บาท
| ทีม apup คณะวิศวกรรมศาสตร์
| ผลงาน: PSU CALENDAR
• นายธรรมีนา เพ็งชัย รหัสนักศึกษา 6610110509
• นายโชติมนัส ชนะกุล รหัสนักศึกษา 6610110074
• นายพชรพล ศุกลสกุล รหัสนักศึกษา 6610110191
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
รองชนะเลิศอันดับที่ 2
เงินรางวัล 3,000 บาท
| ทีม BruteForceAPI คณะวิศวกรรมศาสตร์
| ผลงาน: PSU BUDDY
• นายวิลดาน ผิดไรงาม รหัสนักศึกษา 6610110279
• นายนวพล สังข์ทอง รหัสนักศึกษา 6610110233
• นายฟาริก บูรพาภักดี รหัสนักศึกษา 6610110223
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
รศ.ดร.พิชญา ตัณฑัยย์ หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เข้าร่วมงาน Alibaba Cloud Summit 2024 และงาน Viva Tech 2024 ที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในระหว่างวันที่ 22-24 พฤษภาคม พ.ศ. 2567
โดยมีกำหนดการดังนี้
22 พฤษภาคม 2527 ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน ณ Le Meridien Hotel, Paris
Alibaba Cloud Global Summit 2024
งาน Alibaba Cloud Global Summit 2024 ประกอบด้วย Global Summit Keynotes and Tracks, Cocktail session, Gala Dinner
Alibaba Cloud Academy Roundtable Discussion
Alibaba Cloud Academy Roundatable Discussion รวมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยทั่วโลกมากกว่า 20 คน เข้าร่วมหารือแนวทางความร่วมมือกับ Alibaba Cloud
งาน Viva Tech 2024
งาน Viva Tech 2024 จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 22 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 เป็นงานที่เกี่ยวกับ startup และเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ในครั้งนี้ได้จัดขึ้นเป็นปีที่ 8 ที่เมืองปารีส ณ Paris Expo Porte de Versailles โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้วยการเชื่อมโยงบริษัท startup ผู้นำทางเทคโนโลยี และบริษัทขนาดใหญ่ และนักลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาที่ท้าทายของโลก
คณาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์เดินทางไปเยี่ยมชมงาน Asia Tech และ Alibaba Cloud Office ณ ประเทศสิงคโปร์ ในระหว่างวันที่ 29-30 พฤษภาคม พ.ศ. 2567
กำหนดการ
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 ออกเดินทางโดยรถบัสจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปยัง ยะโฮร์ บารู ประเทศมาเลเซีย และข้ามพรมแดนไปยังประเทศสิงคโปร์
29 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 เยี่ยมชมนิทรรศการ Asia Tech 2024 ณ Singapore Expo
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 เยี่ยมชม Alibaba Cloud Office ณ Lazada One
31 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 เดินทางกลับโดยรถบัส
คณะเดินทาง
คณะเดินทาง 49 คน ประกอบด้วยอาจารย์ 4 คน นักศึกษาระดับปริญญาเอก 1 คน นักศึกษาระดับปริญญาโท 1 คน นักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์รวม 43 คน เดินทางโดยรถบัส VIP 24 ที่นั่งจำนวน 2 คัน จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปยัง ยะโฮร์ บารู ประเทศมาเลเซีย และข้ามพรมแดนไปยังประเทศสิงคโปร์
Asia Tech 2024
Alibaba Cloud Office
Alibaba Cloud เป็น Oplympic Partner หลายสมัย และในปี 2024 นี้ได้ร่วมจัด Olympic ที่ Paris โดยดูแลเรื่องการถ่ายทอดสดและการแปลภาษา
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์จัดอบรมค่ายฤดูร้อน "It's all about Computer Engineer" สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 และอาชีวศึกษา (ปวช.) ในระหว่างวันที่ 22-26 เมษายน 2567
กำหนดการ
รับสมัครวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ถึง 13 มีนาคม พ.ศ. 2567
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมกิจกรรม วันที่ 31 มีนาคม 2567
กิจกรรมย่อย
1. Intro to Python Programming (พื้นฐานการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน)
2. Prompt Engineer and Generative AI (คุยกับเอไออย่างไรให้เกิดผล)
3. Cyber $ecu®ity (รู้จักกับความปลอดภัยทางไซเบอร์)
4. Data Science In Real Life (การประยุกต์ใช้งานข้อมูลในชีวิตประจำวัน)
5. The Last Robot (การเขียนโปรแกรมหุ่นยนต์ครั้งสุดท้าย)
กิจกรรมสันทนาการ
รับประกาศนียบัตร
นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ เข้าร่วมการแข่งขันโครงการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์ Datathon Ultratrail ในวันที่ 30-31 มีนาคม 2567 ณ อาคารเฉลิมพระบารมี ชั้น 14 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
จัดงานโดย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลกรุงเทพ และ DIDA
สนับสนุนโดย Dell, C&R, Coca Cola, Man A, โรงพยาบาลกรุงเทพ, อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้
นักศึกษาเข้าร่วมทีมแข่งขันแก้โจทย์ปัญหาร่วมกับบุคลากรจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และได้รับรางวัลดังต่อไปนี้
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เงินรางวัล 25,000 บาท นายอรรถสุนทร ไตรสุวรรณ นักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เงินรางวัล 15,000 บาท นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ ชั้นปีที่ 3 ประกอบด้วย
6410110175 นางสาวณิชา วิกรมโรจนานันท์
6410110287 นางสาวบุณยวีร์ ละอองพันธ์
6410110301 นางสาวปทิตตา สุขสมบูรณ์
6410110475 นางสาววันวิสาข์ ใจเอื้อ
รางวัลชมเชย เงินรางวัล 5,000 บาท
6510110218 นายนพเก้า ปัญจสุธารส นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 2
6510110506 นายสุรวีร์ วิวัฒนวาณิชย์ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ ชั้นปีที่ 2
6510110693 นายศาสตรวุธ วีรพัฒนาสุวรรณ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ ชั้นปีที่ 2
รางวัลชมเชย เงินรางวัล 5,000 บาท นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ ชั้นปีที่ 3
6410110132 นายฎอน อังศุภาพงศ์
6410110340 นายพชรวุธ ธนาวุฒิ
6410110625 นายกรวิชญ์ อินทมุสิก
6410110697 นายฟิกรี หะยียูโซ๊ะ
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์จัดบรรยายหัวข้อ Explainable AI and Content Security in Healthcare Applications and Beyond โดย Dr. Zulfiqar Ali ซึ่งเป็น Assistant Professor in AI for Decision Making จาก School of Computer Science and Electronic Engineering, University of Essex, สหราชอาณาจักร ณ ห้องประชุมดงยาง 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในวันที่ 18 เมษายน 2567 10.00-11.30 น.
บทคัดย่อ (Abstract)
Explainable AI (XAI) refers to the development of AI systems whose actions and decisions can be easily understood by humans. In the context of health applications and beyond, explainability is crucial for ensuring transparency, accountability, and trust in AI systems, especially when they are involved in making decisions that can impact human lives.
In health applications, such as medical diagnosis or treatment recommendation systems, explainable AI can help healthcare professionals understand why a certain diagnosis or treatment suggestion was made by the AI system. This understanding is essential for doctors to trust and rely on AI-driven insights and recommendations in their decision-making process. It also allows them to verify the validity of AI-generated conclusions and potentially identify errors or biases in the system.
Content security is another critical aspect, particularly in health applications where sensitive patient data is involved.
In this talk, both explainable AI and content security will be discussed in the context of vocal fold disorder assessment (10.1109/ACCESS.2017.2680467, https://doi.org/10.1016/j.jvoice.2015.08.010), zero-watermarking for medical signals (audio and image) (https://doi.org/10.1016/j.future.2019.01.050, https://doi.org/10.3390/electronics11050710), and imposter detection in forged audio (https://doi.org/10.1016/j.compeleceng.2021.107122).
ดูลิงค์รายละเอียดได้ที่ https://sites.google.com/coe.psu.ac.th/dr-zulfiqar-alis-seminar/
รับชมวิดีโอย้อนหลังได้ที่ Facebook Live: https://fb.watch/rxUo80luHJ/?mibextid=rS40aB7S9Ucbxw6v