1. ค่าบริการ ห้องปฏิบัติการ/ห้องประชุม/workshop สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

1.1. บริการใช้ห้องปฏิบัติการฯ พร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรเจคเตอร์

รายการ เวลา หน่วยราชการ (บาท) บุคคลทั่วไป/หน่วยงานเอกชน (บาท)
ห้องปฏิบัติการ  Software R301-A Windows 11จำนวน 35 เครื่อง 8.30-12.00 2000 2500
13.00-16.00 2000 2500
นอกเวลาราชการ 4000 5000
ห้องปฏิบัติการ Software R301-B MacOS จำนวน 15 เครื่อง 8.30-12.00 2000 2500
13.00-16.00 2000 2500
นอกเวลาราชการ 4000 5000
ห้องปฏิบัติการ AI R302 Windows 11 จำนวน 40 เครื่อง 8.30-12.00 3000 4000
13.00-16.00 3000 4000
นอกเวลาราชการ 6000 8000

1.2 บริการใช้ห้องปฏิบัติการฯ พร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์และโปรเจคเตอร์

รายการ เวลา หน่วยราชการ (บาท) บุคคลทั่วไป/หน่วยงานเอกชน (บาท)
ห้อง IDL ความจุห้อง 10 คน วัน 300 500
ครึ่งวัน 200 300
ห้องปฏิบัติการ  Software R301-A 1จำนวน 40 ที่นั่ง 8.30-12.00 500 700
13.00-16.00 500 700
นอกเวลาราชการ 1000 1400
ห้องปฏิบัติการ Software R301-B  จำนวน 20 ที่นั่ง 8.30-12.00 300 500
13.00-16.00 300 500
นอกเวลาราชการ 600 1000
ห้องปฏิบัติการ AI R302 จำนวน 40 ที่นั่ง 8.30-12.00 500 700
13.00-16.00 500 700
นอกเวลาราชการ 1000 1400

 1.3 บริการใช้ห้องปฏิบัติการแบบ workshop

หมายเหตุ : ไม่รวมค่าวัสดุ/ค่าอุปกรณ์ของแต่ละโครงการ

รายการ เวลา หน่วยราชการ (บาท) บุคคลทั่วไป/หน่วยงานเอกชน (บาท)
ห้องปฏิบัติการ  Robotics (R300) 8.30-12.00 8000 12000
13.00-16.00 8000 12000
นอกเวลาราชการ 5000 6000
ห้องปฏิบัติการ  Hardware (R400) จำนวน 30 เครื่อง 8.30-12.00 3000 4000
13.00-16.00 3000 4000
นอกเวลาราชการ 6000 8000
ห้องปฏิบัติการเครื่องมือหนัก 8.30-12.00 3000 4000
13.00-16.00 3000 4000
นอกเวลาราชการ 6000 8000

 2. อัตราค่าตอบแทน

 2.1 อัตราค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในส่วนของการดูแลความเรียบร้อย

1. เวลาราชการ ชั่วโมงละ 50 บาท อัตราวันละ 350 บาท

2. นอกเวลาราชการ ชั่วโมงละ 60 บาท อัตราวันละ 420 บาท

2.2 อัตราค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานสำหรับการติดตั้งโปรแกรมและดูแลการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ

1. ผู้ปฏิบัติงาน อัตราวันละ 1,500 บาท

2. ผู้ช่วยปฏิบัติงาน อัตราวันละ 800 บาท

3. หลักเกณฑ์และอัตราบริการวิชาการ

3.1 งานบริการวิชาการห้องปฏิบัติการ Hardware

ลำดับ รายการ ค่าดำเนินการ ค่าดำเนินการ อัตราค่าทดสอบ
1 PCB 1500 ตร.นิ้วละ 5 บาท (ค่าดำเนินการ(ค่าแรง) + (ตารางนิ้วละ 5 บาท x จำนวนตรม. X จำนวนชิ้น)
2 3D printing 1000 นาทีละ 5 บาท (ค่าดำเนินการ(ค่าแรง) + (นาทีละ 5 บาท x เวลาในการผลิต X จำนวนชิ้น)
3 Laser Cutting 1000 ตร.ซม.ละ 10 บาท (ค่าดำเนินการ(ค่าแรง) + (ตร.ซม. 10 บาท x ความหนามิลลิเมตรละ 1 บาท X จำนวนชิ้น)
4 Project (โครงการ)  2500 แล้วแต่การตกลง  

3.2 งานบริการวิชาการห้องเครื่องมือหนัก

ลำดับ รายการ ค่าดำเนินการ ค่าดำเนินการ อัตราค่าทดสอบ
1 Milling 100 จุดละ 50 บาท ค่าดำเนินการ(ค่าแรง)  x จุดละ 50 บาท
2 เครื่องตัดเหล็กไฟเบอร์ 100 หน่วยละ 10 บาท ค่าดำเนินการ(ค่าแรง)  x หน่วยละ 10 บาท
3 เครื่องตัดเหล็กคาไบท์ 100 หน่วยละ 15 บาท ค่าดำเนินการ(ค่าแรง)  x หน่วยละ 15 บาท
4 เครื่องตัดอลูมิเนียม 100 หน่วยละ 10 บาท ค่าดำเนินการ(ค่าแรง)  x หน่วยละ 10 บาท

 

 

 

ช่องทางการติดต่อ

ที่อยู่: สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (ตึกหุ่นยนต์) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
15 ถ.กาญจนวณิชย์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 ประเทศไทย
ที่อยู่: Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering, Prince of Songkla University
15 Karnjanavanich Rd., HatYai, Songkhla, Thailand 90110

ติดต่อสอบถาม

หัวข้อเกี่ยวกับวิชาการและกิจกรรมนักศึกษา ระดับปริญญาตรี และบริการวิชาการ ติดต่อ คุณวิมล คำจันทร์ Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. โทรศัพท์: โทรสาร:  +66 (0)74 287076

หัวข้อเกี่ยวกับบัณฑิตศึกษา ประกันคุณภาพ การเงินและพัสดุ ติดต่อ คุณบงกช พฤกษพงศ์ Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. โทรศัพท์:  +66 (0)74 287358 

แผนที่

แผนที่สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (Google Map)

 topview eng route web

Map2

Map1

คุณอนันต์ นิลโกสีย์ ลูกจ้างประจำภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับรางวัล ข้าราชการดีเด่น ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ประจำปี พ.ศ. 2552 โดยมี อธิการบดี รศ.ดร. บุญสม ศิริบำรุงสุข อธิการบดี เป็นผู้มอบรางวัล

AN2

นอกจากนี้ คุณอนันต์ยังได้รับรางวัล ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2552 ของทบวงมหาวิทยาลัย อีกด้วย

AN3

เข็นกลัดและแหวนรางวัล

AN1

เกียรติบัตร

AN5

ผลงาน "ระบบคอมพิวเตอร์แบบเบรลล์" โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญา ตัณฑัยย์ และคณะ ได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัล ผลงานดีเด่น สาขาการประดิษฐ์ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2551 เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2551 และ 22 กันยายน 2551 ตามลำดับ

ผลงานดังกล่าวได้รับทุนวิจัยจาก ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ในโครงการ คอมพิวเตอร์แบบพกพาที่มีคีย์บอร์ดและหน่วยแสดงผลแบบเบรลล์ ภาษาไทยและอังกฤษสำหรับผู้พิการทางสายตา (Braille computer keyboard and display unit with Thai and English processing capability for visually impaired people) ในช่วงปี 2547 - 2552 และทุนบริหารกลุ่มวิจัย การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้อักษรเบรลล์สำหรับผู้พิการทางสายตา (Development of a Braille Computer System for the Visually Impaired) จาก คณะวิศวกรรมศาสตร์  ในระหว่างปี 2547-2548 และทุนวิจัย โครงการวิจัยพัฒนา โปรแกรมแปลงอักษรปกติเป็นอักษรเบรลล์และอักษรเบรลล์เป็นอักษรปกติ จาก มูลนิธิราชสุดา ในช่วง 2549- 2552

คณาจารย์และนักศึกษาภายได้โครงการ "ระบบคอมพิวเตอร์แบบเบรลล์" ได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ และร่วมกันผลิตผลงานตีพิมพ์ระดับชาติและนานาชาติ ดังต่อไปนี้

รางวัลระดับนานาชาติ

  •  รางวัลที่ 3 และ Peer’s Choice Award ในการแข่งขัน Assistive & Rehabilitative Technology Student Design Challenge ในที่ประชุมทางวิชาการ 2nd International Convention on Rehabilitation Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2008) ที่โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค พฤษภาคม 2551, ธนาธิป ลิ่มนา, ศุภชัย มะเดื่อ, วรพล ทินกรสูติบุตร และวิชชุดา เกียรติเจริญศักดิ์, Braille Computer Notebook จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

รางวัลงานวิจัยระดับชาติ

  • รางวัลที่ 2 ประเภท Professional Vote ในการประกวดนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ ไทย จาก สภาคณบดี คณะวิศวกรรมศำสตร์ แห่งประเทศไทย ณ งานสัปดาห์วิศวกรรมศำสตร์ แห่งชาติครั้งที่ 2 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมนานาชาติไบเทค บางนา ผลงาน “ระบบคอมพิวเตอร์แบบเบรลล์” ตุลาคม 2547

รางวัลระดับชาติ การแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย

  • รางวัลชมเชย ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิตนักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่10 (National Software Contest, NSC2010), ธนพฤทธิ์ นันทวุฒิกุล, รัชฎา พร ทองมาก และสุรีย์พร อังสุภานิช, พจนานุกรมเสียงใส, กุมภาพันธ์ 2553 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
  • รางวัลชมเชย ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิตนักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 (National Software Contest, NSC2008), พรนลัท ศรประสิทธิ์และ จารุณี กัมพลาวลี, อิสระใหม่ด้วยออร์แกนไนเซอร์และอินเตอร์เน็ตรีดเดอร์, กุมภาพันธ์ 2551 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
  • รางวัลชนะเลิศ และรางวัลพิเศษ จาก สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัยและพัฒนา กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับคนตาบอดในมูลนิธิราชสุดา ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิต นักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่9 (National Software Contest, NSC2007), ลดาวัลย์ มีพันแสน, อภิษฎา อินทสระ และดาริกา มณีฉาย, Braille-Music XML Translation, กุมภาพันธ์ 2550 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพวิเตอร์แห่งชาติ 
  • รางวัลชมเชย และรางวัลวัลพิเศษ จาก สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัยและพัฒนา กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับคนตาบอดในมูลนิธิราชสุดา ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิต นักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่9 (National Software Contest, NSC2007), ธนาธิป ลิ่มนา, ชมพูนุท แซ่ตั้ง และพงศ์กานต์ กาลสงค์, Braille Operation Software, กุมภาพันธ์ 2550 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
  • รางวัลชนะเลิศ และรางวัลพิเศษ จาก สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัยและพัฒนา กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับคนตาบอดในมูลนิธิราชสุดา ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิต นักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 (National Software Contest, NSC2005), สมชาย เพ็ชรเกลี้ยง และเตชิต พันธ์ุวศิน, ASCII-to-Thai Braille Translator, กุมภาพันธ์ 2548 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
  • รางวัลชนะเลิศ และรางวัลพิเศษ จาก สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัยและพัฒนา กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับคนตาบอดในมูลนิธิราชสุดา ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิต นักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 (National Software Contest, NSC2004), ศันสนีย์ บุญสนอง, Thai Braille to ASCII Translator, กุมภาพันธ์ 2547 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
  • รางวัลชมเชย และรางวัลพิเศษ าก สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัยและพัฒนา กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับคนตาบอดในมูลนิธิราชสุดา ในประเภทโปรแกรมเพื่อช่วยคนพิการกลุ่มนิสิต นักศึกษา ในการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 (National Software Contest, NSC2004), คงสกุล ชุมคง, ถิรวุธ สุริยะไพบูลย์วัฒนา และสมชาย เพ็ชรเกลี้ยง, Thai Braille Terminal Program on Linux, กุมภาพันธ์ 2547 จัดโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ

รางวัลระดับชาติ การแข่งขันการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยระบบสมองกลฝังตัว

  • รางวัลที่ 3 ในการแข่งขันพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยระบบสมองกลฝังตัว (Embedded Systems on New Industrial Design Camp and Contest 2007) ปี 2550, ธนาธิป ลิ่มนา, ศุภชัย มะเดื่อ, วรพล ทินกรสูติบุตร, วิชชุดา เกียรติ เจริญศักดิ์ และณัฐวุฒิ สุวรรณรัตน์, AmBraille: Braille Computer Notebook จัดโดยศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

รางวัลระดับชาติ การแข่งขันประกวดนวัตกรรมแห่งประเทศไทย

  • รางวัลที่ 3 ในการแข่งขันประกวดนวัตกรรมแห่งประเทศไทย, ศันสนีย์ บุญสนอง, Thai Braille To ASCII Translator, ในโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทยคร้ังที่ 4 (Thailand Innovation Awards 2004), ตุลาคม 2547 ณ ศูนย์การแสดงสินค้านานาชาติอิมแพ็คเมืองทองธานี จัดโดย สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย

รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดีมาก ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • ปี 2552, นายวรพล ทินกรสูติบุตร, การแปลงเบรลลแ์ละแอสกีภาษาไทยแบบทันทีทันใด (On-the-fly Thai Braille and ASCII Translation)

บทความตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS

  • Pichaya Tandayya, Wannarat Suntiamorntut, Suntorn Witosurapot, Chatchai Jantaraprim, Worraprot Chukumnird, Vorapol Thinnagonsutibut, Thanathip Limna, Suppachai Madue, and Wirapol Niyomman, Computer Notebook with Thai and English Processing for the Visually Impaired, Selected Papers from the Japanese Conference on the Advancement of Assistive and Rehabilitation Technology, 23rd JCAART 2008, Niigata, Assistive Technology Research Series, IOS Press, Netherlands, Volume 28, May 2011, pages 166-172, ISBN 978-1-60750-757-4 (Editors: Ohnabe, H., Kubo, M., Collins, D.M., Cooper, R.A.), DOI: 10.3233/978-1-60750-758-1-166. (SJR Q3-2011)
  • Pruittikorn Smithmaitrie, Jinda Kanjantoe and Pichaya Tandayya, Touching Force Response of the Piezoelectric Braille Cell, Disability and Rehabilitation: Assistive Technology, Volume 3, Issue 6, November 2008, pages 360-365, ISSN 1748-3107, e-ISSN 1748-3115, DOI: 10.1080/17483100802281442. (ISI: ESCI) (JIF 0.038/2008) (SJR Q2-2008-2009)

บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในงานประชุมทางวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS

  • Kamonwan Pakdeechote and Pichaya Tandayya, A New Web Interface for the Visually Impaired to Access Facebook, In Proceedings of 6th International Convention on Rehabilitative Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2012), Singapore, 24th – 26th July 2012, https://dl.acm.org/doi/10.5555/2501134.2501148.
  • Wiraman Niyomphol, Pichaya Tandayya, Wichian Nantachaipitak, and Chaiya Intasoi, A Simple Text-based Method of Producing Math/Science Symbols or Musical Notes for Use in a Thai/English Braille Translation Software, In Proceedings of 2 nd International Convention on Rehabilitation Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2008), Bangkok, Thailand, 13th-15th May 2008, pages 153-158, DOI: https://dl.acm.org/doi/10.5555/1983222.1983263.
  • Thanathip Limna, Chomphunut Sae-tang, Chatchai Jantaraprim, Pichaya Tandayya and Wiraman Niyompol, Linux User Interface and Front-end Operation for the Visually Impaired, In Proceedings of the Inaugural International Convention for Rehabilitation Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2007), Singapore, 23rd – 26th April 2007, pages 179-184, ISBN 978-981-05-8075-9, DOI: 10.1145/1328491.1328537.
  • Aphisada Inthasara, Ladawan Mipansaen, Pichaya Tandayya, Chatchai Jantaraprim and Patimakorn Jantaraprim, MusicXML to Braille Music Translation, In Proceedings of the Inaugural International Convention for Rehabilitation Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2007), Singapore, 23rd – 26th April 2007, pages 189-194, ISBN 978-981-05-8075-9, DOI: 10.1145/1328491.1328539.
  • Pongkan Kansong, Darika Marneechay, Pichaya Tandayya, Chatchai Jantaraprim, and Wiraman Niyompol, Graphic User Interface and Front-end Operation on MS Windows, In Proceedings of the Inaugural International Convention for Rehabilitation Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2007), Singapore, 23rd – 26th April 2007, pages 52-56, ISBN 978-981-05-8075-9, DOI: 10.1145/1328491.1328505.
  • Pruittikorn Smithmaitrie, Jinda Kanjantoe and Pichaya Tandayya, Touching Force Response of the Piezoelectric Braille Cell, In Proceedings of the Inaugural International Convention for Rehabilitation Engineering & Assistive Technology (i-CREATe 2007), Singapore, 23rd – 26th April 2007, pages 174-178, ISBN 978-981-05-8075-9, DOI: 10.1145/1328491.1328536.

บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในงานประชุมทางวิชาการ

  • ทศวัฒน์ ชุณหวิทยะธีระ และพิชญา ตัณฑัยย์, “การใชเ้อ็นแกรมช่วยในการตัดสินใจแปลอกัษรเบรลล์ที่ใช้คำควบกล้ำ สระประสม และอักษรเบรลล์สองเซลล์,” การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2555, เชียงใหม่, ประเทศไทย, 17 กุมภาพันธ์ 2555. รางวัลผลงานวจิยัดีเด่น (Best Paper Award) กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
  • เสาวลักษณ์ ธีระธนานนท์ และพิชญา ตัณฑัยย์, การออกแบบและวเิคราะห์การจัดวางอักขระภาษาไทยแบบต่างๆ เพื่อใช้ในคีย์บอร์ดบนจอภาพ, กำรประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยำลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 8, สงขลา, 22-23 เมษายน 2553, รางวลับทความดีเด่นด้านประยุกต์สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์.
  • Pichaya Tandayya, Vorapol Thinnagonsutibut, Chatchai Jantaraprim, and Wiraman Niyompol, On-the-fly Braille and ASCII Thai Translation for PSU Braille Notebook, In Proceedings of 24th Japanese Conference on the Advancement of the Assistive and Rehabilitation Technology (24th JCAART), National Rehabilitation Center for Persons with Disabilities, Saitama, Japan, 26th -28th August 2009, pages 141-142.
  • Pichaya Tandayya, Wannarat Suntiamorntut, Suntorn Witosurapot, Chatchai Jantaraprim, Worraprot Chukumnird, Vorapol Thinnagonsutibut, Thanathip Limna, Suppachai Madue, and Wiraman Niyompol, Computer Notebook with Thai and English Processing Support for the Visually Impaired, In Proceedings of 23rd Japanese Conference on the Advancement of the Assistive and Rehabilitation Technology, Niigata, Japan, 27th – 29th August 2008, pages 333-334.
  • สายรุ้ง แก้วสว่าง, พรนลัท ศรประสิทธิ์และพิชญา ตัณฑัยย,์ การวิเคราะห์ความเหมาะสมของการออกแบบอักษรเบรลล์ไทยและอังกฤษเมื่อใช้คีย์บอร์ดแบบเบรลล์, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 5, ภูเก็ต, 10-11 พฤษภาคม 2550, หน้าที่ PEC5011-12-PEC5011-15.
  • ธนาธิป ลิ่มนา, ชมพูนุท แซ่ตั้ง, พงศ์กานต์ กาลสงค์, ดาริกา มณีฉาย, จอมขวัญ วิจิตต์พันธ์, ทศวัฒน์ ชุณหวิทยะธีระ, อภิษฎา อินทสระ, ลดาวัลย์ มีพันแสน, พิชญา ตัณฑัยย์, ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม,และวีระแมน นิยมพล,การแปลงข้อมูลระหว่างรูปแบบ XML และอักษรเบรลล์, การประชุมวิชาการประจำปี 2550 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.), อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย, 28-30 มีนาคม 2550, ISBN 978-974-229-150- 1.
  • Pichaya Tandayya, Suntorn Witosurapot, Chatchai Jantaraprim, Worraprot Chukumnird, and Wiraman Niyompol, A Braille computer notebook with Thai and English processing capability for visually impaired people, In Proceedings of the 12th World Conference of the International Council for Education of People with Visual Impairment (ICEVI), Putra World Trade Centre, Kuala Lumpur, Malaysia, 16th -21st July 2006
  •  วรพล ทินกรสูติบุตร, ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม และ พิชญา ตัณฑัยย์, การแปลงข้อมูลเบรลล์และไทยแบบทันทีทันใด, กำรประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 2, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 19-20 พฤษภาคม 2549.
  •  สมชาย เพ็ชรเกลี้ยง, พิชญา ตัณฑัยย์, การเพิ่มเติมการแปลงข้อความรหัสแอสกีอักษรไทยเป็นรหัสคอมพิวเตอร์เบรลล์ในโปรแกรมแปลงอักษรเบรลล์เอ็นเอฟบีทรานส์ (Thai Braille translation on Nfbtrans), งานประชุมประจำปี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) 2548: “วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไทย สู่เศรษฐกิจยุคโมเลกุล”, ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย, 27-30 มีนาคม 2548.
  • ศันสนีย์ บุญสนอง, พิชญา ตัณฑัยย์, โปรแกรมแปลงอักษรเบรล์ให้เป็นแอสกี(Thai Braille to ASCII Translation Program), การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 3, สงขลา, 8-9 ธันวาคม 2547.
  • ศรัณยู นาโค, วิภารัตน์ อินทร์มณี, วรพล ทินกรสูติบุตร, พิชญา ตัณฑัยย์, ระบบต้นแบบของคอมพิวเตอร์ที่มี คียบ์อร์ดและหน่วยแสดงผลแบบเบรลล์ภาษาไทยและอังกฤษสำหรับผู้พิการทางสายตา, การประชุมวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อโลกน่าอยู่, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา, 4-5 กรกฎาคม 2545.

BN1

BN3

BN5

BN6

BN7

BN2

 

Go to top